วันอังคารที่ 17 มกราคม พ.ศ.2560 เวลา 14.30-17.30น.
วันนี้ได้เรียนในเรื่องของธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เด็กในช่วงวัยนี้จะเป็นช่วงที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่งก็คือ พ่อแม่จะให้ความสนใจและให้สำคัญเป็นอย่างมากเพราะถือว่าช่วงวัยนี้เป็นช่วงที่สำคัญต่อการเรียนรู้
★ลักษณะของเด็กในช่วงวัยนี้
1.ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง
2.มีความสามารถในขอบเขตจำกัดและแตกต่างกั
3.ต้องการการเอาใจใส่ดูแลจากบุคคลรอบข้างเขา
4.ชอบความเป็นอิสระ
5.ชอบแสดงออกและต้องการการยอมรับจากครูและเพื่อนๆ
6.ชอบเล่น
7.มีช่วงของความสนใจสั้นๆ เด็ก3-4ขวบจะมีระยะความสนใจเพียง 10-12นาทีและเด็กอายุ4-5ขวบ
จะมีระยะความสนใจเพียง 12-15นาที
★ลักษณะการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
1.เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการพบหรือสัมผัสสิ่งของและลงมือกระทำด้วยตัวเอง 2.เรียนรู้จากประสบการณ์ทางอ้อม เรียนรู้จากการบอกเล่าของบุคคลที่ใกล้ชิด หรือเรียนรู้จากหนังสือ การเลียนแบบบุคคล ซึ่งการเรียนรู้วิธีนี้จะทำให้เด็กสร้างมโนภาพขึ้นได้ในสมองแทนการเห็นของจริง
★การจำแนกลักษณะการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
- ลักษณะที่1 การเรียนรู้โดยสัญชาตญาณ คือการที่เด็กเห็นสิ่งนี้แล้วรู้ว่าต้องทำอะไร - ลักษณะที่2 เป็นการเรียนรู้จากการช่วยเหลือจากพ่อแม่ เช่น การสอนเด็กเลี้ยงสัตว์เลี้ยง - ลักษณะที่3 การเรียนรู้จากโปรแกรมการพัฒนาพฤติกรรมอย่างมีระบบ ★รูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย 1.การเรียนรู้โดยใช้สายตา เป็นการเรียนรู้ที่เด็กสามารถเปรียบเทียบด้วยสายตา มองเห็นความต่างความเหมือนของสี ขนาด รูปร่าง เป็นการเรียนรู้ที่ประสานความสัมพันธ์ระหว่างมือกับสายตา 2.การเรียนรู้โดยการได้ยินได้ฟัง เด็กจะได้ยินเสียงต่างๆจากสิ่งรอบตัวหรือจากบุคคลและเด็กสามารถรู้ที่มาของเสียง แยกความเหมือนความต่างของเสียงได้
3.การเรียนรู้โดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายหรือกล้ามเนื้อ เช่น การเดิน การวิ่ง การคลาน เป็นต้น
★กระบวนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาและเด็กในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ดี ถือเป็นโอกาสทองของการเรียนรู้ของมนุษย์และเป็นช่วงวัยที่สมองกำลังไวต่อสิ่งกระตุ้น ตัวกระตุ้นที่ดีที่สุดของเด็กคือ คำถาม การที่เด็กตั้งคำถามคือเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้มีขั้นตอน ดังนี้
1.มีสิ่งเร้ามาเร้าผู้เรียน สิ่งเร้าในที่นี้คือสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนซึ่งควรจะเป็นของจริง 2.ผู้เรียนรับรู้สิ่งเร้า คือการที่ครูมีเทคนิคในการสอนที่จะดึงดูดให้เด็กมาสนใจและเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
3.ผู้เรียนแปลความหมายของสิ่งเร้าที่รับรู้ คือการที่เด็กเกิดการเรียนรู้จากสื่อและสามารถเข้าใจว่าสื่อนี้ต้องการให้เรียนรู้เรื่องอะไร
4.ผู้เรียนมีปฏฺิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้และแปลความหมาย 5.ผู้เรียนสังเกตผลที่เกิดขึ้น คือการที่เด็กเข้าใจในสื่อนั้นมากน้อยเพียงใด
เมื่อเด็กอายุมากขึ้นพัฒนาการในการเรียนรู้ก็จะเพิ่มมากขึ้นไปด้วย เด็กที่มีอายุระหว่าง3-6ปีจะมีวิธีการเรียนรู้ที่ซับซ้อนกว่าเด็กที่อายุ2-3ปี โดยเด็กจะใช้การคิดการลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาสิ่งที่ตนเองอยากรู้
★ทักษะการเรียนรู้ของเด็กปฐวัย
☞อายุ2-3ปี
- ดูหนังสือภาพแล้วสามารถเรียกชื่อสิ่งที่เห็นจากภาพได้
- จับคุ่สิ่งของได้ โดยที่เด็กรู้ความสัมพันธ์กันของสิ่งของเล่านั้น เช่น เสื้อกับกางเกง ช้อนกับส้อม เป็นต้น
- เรียนรู้ขนาดใหญ่และเล็กได้
- ชอบการเลียนแบบการทำงานของผู้ใหญ่
- สามารถบอกได้ว่าขณะนี้กำลังทำอะไรอยู่ได้ ☞อายุ3-4ปี
- สามารถจำสีและจับคู่สีที่เหมือนกันได้มากกว่า 3 สี
- เปรียบเทียบขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ได้
- ชอบถามว่าทำไม
- บอกชื่อ นามสกุลได้เมื่อได้รับการสอนให้จำ
- เข้าใจความหมายของเวลาคร่่าวๆ เช่น เมื่อเช้านี้ เมื่อเย็นนี้ เป็นต้น
☞อายุ4-5ปี
- ท่องคำสัมผัสและสนุกกับคำที่ออกเสียงซ้ำๆ
- บอกชื่อสีได้ 4-6สี
- วาดภาพคนโดยมีส่วนต่างๆของคน ตั้งแต่2-6ส่วน
- จับคู่สิ่งของที่ใช้ด้วยกันหรือประเภทเดียวกันได้
- บอกชื่อสถานที่ที่บ้านตนตั้งอยู่ได้
☞อายุ5-6ปี
- สามารถเล่าทวนเรื่องทีได้ยินได้
- แยกสิ่งของที่มีคุณลักษณะต่างกันได้
- รู้ความหมายของการบอกเวลาได้ชัดเจนถูกต้อง เช่น เมื่อวานนี้ วันนี้ พรุ่งนี้ เป็นต้น
- ออกชื่อตัวพยัญชนะหรือตัวเลขที่ตนจำได้ อ่านได้
- จับอุปกรณืต่างๆได้ถนัดมากยิ่งขึ้น
★แนวคิดของการเรียนรู้
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของBLOOM
แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น6ระดับ ประกอบด้วย
1.ความจำ เป็นความสามารถในการจดจำแนกประสบการณ์ต่างๆ และระลึกเรื่องราวนั้นๆออกมาได้ถูกต้องแม่นยำ
2.การประยุกต์ เป็นการนำเรื่องราวที่ได้เรียนรู้มาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้
3.ความเข้าใจ เป็นความสามารถบ่งบอกใจความสำคัญของเรื่องราวโดยการแปลความหลัก ตีความได้ สรุปใจความสำคัญได้
4.การสังเคราะห์ ผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันโดยปรับปรุงของเก่าให้ดีขึ้นและมีคุณภาพสูงขึ้น
5.การวิเคราะห์ สามารถแก้ปัญหา และนำส่วนต่างๆมาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ที่ต่างจากแบบเดิมได้
6.การประเมินค่า สามารถวัดได้ เน้นโครงสร้างใหม่ และตัดสินว่าอะไรถูกอะไรผิด
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์
การวิเคราะห์มีความจำเป็นในการออกแบบสื่อที่จะนำไปใช้ในการเรียนการสอน สื่อต้องตรงตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ3ส่วน คือ
1.พฤติกรรมควรชี้ชัดและสังเกตได้
2.เงื่อไนพฤติกรรมสำเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ
3.มาตรฐานพฤติกรรมควรอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบนูเนอร์
1.ความรู้ถูกสร้างโดยประสบการณ์
2.ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
3.ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
4.ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
5.ผู้เรียนเลือกกิจกรรมและเนื้อหาเอง ซึ่งควรถูกสร้างในภาพรวม
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์
1.ความต่อเนื่อง คือ การทำซ้ำๆบ่อยๆ
2.การจัดช่วงลำดับ
3.บูรณาการ
◈การเรียนรู้8ขั้นของกาเย่
1.การจูงใจจากสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ
2.การรับรู้ตามเป้าหมายที่งตั้งไว้
3.การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ
4.ความสามารถในการจำ
5.ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
6.การนำสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้วไปประยุกต์ใช้
7.การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้
8.การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน
★พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
เป็นวัยพื้นฐานในการเตรียมความพร้อมที่จะก้าวสู่การพัฒนาของชีวิต เด็กจะให้ความสนใจในสิ่งต่างๆรอบตัวและชอบตั้งคำถามในเรื่องต่างๆ ซึ่งความหมายของพัฒนาการ คือ กระบวนการเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบระเบียบอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับขั้นตอนโดยมีอายุเป็นตัวกำกับ
»ลักษณะของพัฒนาการ
การเข้าใจวิถีชีวิตในวัยเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ6ปี
● พัฒนาการเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน
● มีทิศทางที่แน่นอน
● พัฒนาดารเริ่มจากบนไปล่าง จากแกนกลางลำตัวไปสู่ด้านข้าง
● อัตราพัฒนาการของเด็กแตกต่างกัน
● พัฒนาการจะมีความสัมพันธ์กัน
»ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
● บุคคลภายในครอบครัว ประกอบด้วยพ่อแม่พี่น้อง หรือญาติใกล้ชิที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
● บุคคลภายนอกครอบครัว ประกอบด้วยผู้ดูแลเด็ก ครู เพื่อนๆ ตลอดจนอิทธิพลของสังคมโดยผ่านสื่อต่างๆ
● อาหาร
● เชื้อชาติ
● เพศ เพศหญิงจะโตเร็วกว่าเพศชาย
● การบาดเจ็บและโรคภัยไข้เจ็บ
★การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
3.การเรียนรู้โดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายหรือกล้ามเนื้อ เช่น การเดิน การวิ่ง การคลาน เป็นต้น
★กระบวนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาและเด็กในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ดี ถือเป็นโอกาสทองของการเรียนรู้ของมนุษย์และเป็นช่วงวัยที่สมองกำลังไวต่อสิ่งกระตุ้น ตัวกระตุ้นที่ดีที่สุดของเด็กคือ คำถาม การที่เด็กตั้งคำถามคือเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้มีขั้นตอน ดังนี้
1.มีสิ่งเร้ามาเร้าผู้เรียน สิ่งเร้าในที่นี้คือสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนซึ่งควรจะเป็นของจริง 2.ผู้เรียนรับรู้สิ่งเร้า คือการที่ครูมีเทคนิคในการสอนที่จะดึงดูดให้เด็กมาสนใจและเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
3.ผู้เรียนแปลความหมายของสิ่งเร้าที่รับรู้ คือการที่เด็กเกิดการเรียนรู้จากสื่อและสามารถเข้าใจว่าสื่อนี้ต้องการให้เรียนรู้เรื่องอะไร
4.ผู้เรียนมีปฏฺิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้และแปลความหมาย 5.ผู้เรียนสังเกตผลที่เกิดขึ้น คือการที่เด็กเข้าใจในสื่อนั้นมากน้อยเพียงใด
เมื่อเด็กอายุมากขึ้นพัฒนาการในการเรียนรู้ก็จะเพิ่มมากขึ้นไปด้วย เด็กที่มีอายุระหว่าง3-6ปีจะมีวิธีการเรียนรู้ที่ซับซ้อนกว่าเด็กที่อายุ2-3ปี โดยเด็กจะใช้การคิดการลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาสิ่งที่ตนเองอยากรู้
★ทักษะการเรียนรู้ของเด็กปฐวัย
☞อายุ2-3ปี
- ดูหนังสือภาพแล้วสามารถเรียกชื่อสิ่งที่เห็นจากภาพได้
- จับคุ่สิ่งของได้ โดยที่เด็กรู้ความสัมพันธ์กันของสิ่งของเล่านั้น เช่น เสื้อกับกางเกง ช้อนกับส้อม เป็นต้น
- เรียนรู้ขนาดใหญ่และเล็กได้
- ชอบการเลียนแบบการทำงานของผู้ใหญ่
- สามารถบอกได้ว่าขณะนี้กำลังทำอะไรอยู่ได้ ☞อายุ3-4ปี
- สามารถจำสีและจับคู่สีที่เหมือนกันได้มากกว่า 3 สี
- เปรียบเทียบขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ได้
- ชอบถามว่าทำไม
- บอกชื่อ นามสกุลได้เมื่อได้รับการสอนให้จำ
- เข้าใจความหมายของเวลาคร่่าวๆ เช่น เมื่อเช้านี้ เมื่อเย็นนี้ เป็นต้น
☞อายุ4-5ปี
- ท่องคำสัมผัสและสนุกกับคำที่ออกเสียงซ้ำๆ
- บอกชื่อสีได้ 4-6สี
- วาดภาพคนโดยมีส่วนต่างๆของคน ตั้งแต่2-6ส่วน
- จับคู่สิ่งของที่ใช้ด้วยกันหรือประเภทเดียวกันได้
- บอกชื่อสถานที่ที่บ้านตนตั้งอยู่ได้
☞อายุ5-6ปี
- สามารถเล่าทวนเรื่องทีได้ยินได้
- แยกสิ่งของที่มีคุณลักษณะต่างกันได้
- รู้ความหมายของการบอกเวลาได้ชัดเจนถูกต้อง เช่น เมื่อวานนี้ วันนี้ พรุ่งนี้ เป็นต้น
- ออกชื่อตัวพยัญชนะหรือตัวเลขที่ตนจำได้ อ่านได้
- จับอุปกรณืต่างๆได้ถนัดมากยิ่งขึ้น
★แนวคิดของการเรียนรู้
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของBLOOM
แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น6ระดับ ประกอบด้วย
1.ความจำ เป็นความสามารถในการจดจำแนกประสบการณ์ต่างๆ และระลึกเรื่องราวนั้นๆออกมาได้ถูกต้องแม่นยำ
2.การประยุกต์ เป็นการนำเรื่องราวที่ได้เรียนรู้มาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้
3.ความเข้าใจ เป็นความสามารถบ่งบอกใจความสำคัญของเรื่องราวโดยการแปลความหลัก ตีความได้ สรุปใจความสำคัญได้
4.การสังเคราะห์ ผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันโดยปรับปรุงของเก่าให้ดีขึ้นและมีคุณภาพสูงขึ้น
5.การวิเคราะห์ สามารถแก้ปัญหา และนำส่วนต่างๆมาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ที่ต่างจากแบบเดิมได้
6.การประเมินค่า สามารถวัดได้ เน้นโครงสร้างใหม่ และตัดสินว่าอะไรถูกอะไรผิด
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์
การวิเคราะห์มีความจำเป็นในการออกแบบสื่อที่จะนำไปใช้ในการเรียนการสอน สื่อต้องตรงตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ3ส่วน คือ
1.พฤติกรรมควรชี้ชัดและสังเกตได้
2.เงื่อไนพฤติกรรมสำเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ
3.มาตรฐานพฤติกรรมควรอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบนูเนอร์
1.ความรู้ถูกสร้างโดยประสบการณ์
2.ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
3.ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
4.ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
5.ผู้เรียนเลือกกิจกรรมและเนื้อหาเอง ซึ่งควรถูกสร้างในภาพรวม
◈การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์
1.ความต่อเนื่อง คือ การทำซ้ำๆบ่อยๆ
2.การจัดช่วงลำดับ
3.บูรณาการ
◈การเรียนรู้8ขั้นของกาเย่
1.การจูงใจจากสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ
2.การรับรู้ตามเป้าหมายที่งตั้งไว้
3.การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ
4.ความสามารถในการจำ
5.ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
6.การนำสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้วไปประยุกต์ใช้
7.การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้
8.การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน
★พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
เป็นวัยพื้นฐานในการเตรียมความพร้อมที่จะก้าวสู่การพัฒนาของชีวิต เด็กจะให้ความสนใจในสิ่งต่างๆรอบตัวและชอบตั้งคำถามในเรื่องต่างๆ ซึ่งความหมายของพัฒนาการ คือ กระบวนการเจริญเติบโตที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบระเบียบอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับขั้นตอนโดยมีอายุเป็นตัวกำกับ
»ลักษณะของพัฒนาการ
การเข้าใจวิถีชีวิตในวัยเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ6ปี
● พัฒนาการเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน
● มีทิศทางที่แน่นอน
● พัฒนาดารเริ่มจากบนไปล่าง จากแกนกลางลำตัวไปสู่ด้านข้าง
● อัตราพัฒนาการของเด็กแตกต่างกัน
● พัฒนาการจะมีความสัมพันธ์กัน
»ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
● บุคคลภายในครอบครัว ประกอบด้วยพ่อแม่พี่น้อง หรือญาติใกล้ชิที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
● บุคคลภายนอกครอบครัว ประกอบด้วยผู้ดูแลเด็ก ครู เพื่อนๆ ตลอดจนอิทธิพลของสังคมโดยผ่านสื่อต่างๆ
● อาหาร
● เชื้อชาติ
● เพศ เพศหญิงจะโตเร็วกว่าเพศชาย
● การบาดเจ็บและโรคภัยไข้เจ็บ
★การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
1.ควรคำนึงถึงตัวเด็กเป็นสำคัญ 2.ควรมีทั้งกิจกรรมที่ให้เด็กทำเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ 3.ควรมีความสมดุล 4.ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมควรเหมาะสมกับวัย 5.ควรเน้นให้มีสื่อของจริง
»ลักษณะการจัดกิจกรรมผ่านการเล่น
•กิจกรรมเสรี กิจกรรมเสรีเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กเล่นตามมุมการเล่นหรือมุมประสบการณ์ •กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมสร้างสรรค์
เป็นกิจกรรมที่ช่วยเด็กให้แสดงทางอารมณ์ ความรู้สึก
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้ศิลปะ •กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นกิจกรรมที่จัดให้ •กิจกรรมเสริมประสบการณ์
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ฝึกการ
ทำงานและอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มทั้งกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ •กิจกรรมกลางแจ้ง
กิจกรรมกลางแจ้งเป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียนเพื่อออกกำลังเคลื่อนไหวร่างกาย •เกมการศึกษา
เกมการศึกษาเป็นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติปัญญามีกฎเกณฑ์กติกาง่าย ๆ
»ลักษณะพฤติกรรมการเล่นของเด็กปฐมวัย
●การเล่นของเด็กอายุ0-1ปี ยังไม่ค่อยสนใจการเล่นมากนัก แต่จะเริ่มมีพัฒนาการด้านการมองเห็นและการได้ยิน การแขวนโมบายของเล่นเป็นการช่วยพัฒนาการการมองเป็นและการฟังได้สังเกตการเคลื่อนไหวของโมบาย
●การเล่นของเด็กอายุ1-2ปี เด็กวัยนี้จะเริ่มเดินได้บ้าง แม้จะไม่มั่นคงแต่ก็ชอบเกาะขอบโต๊ะขอบเก้าอี้เดินจากอีกที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เป็นการฝึกเรื่องระยะทางและฝึกการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อต่างๆ
●การเล่นของเด็กอายุ2-4ปี เป็นช่วงวัยที่สำคัญมากเพราะเด็กวัยนี้กำลังอยากรู้อยากเห็นทุกสิ่งทุกอย่าง เคลื่อนไหวร่างกานได้คล่องแคล่วขึ้น ทรงตัวได้ดีมากขึ้น ขาของเด็กวัยนี้จะแข็งแรงมากทำให้เด็กชอบเล่นในสิ่งที่ต้องออกแรงเยอะๆ
●การเล่นของเด็กอายุ4-6ปี เด็กวัยนี้มีความพร้อมในด้านต่างๆมากขึ้น เคลื่อนไหวร่างกานคล่องแคล่วขึ้นชอบการเล่นกลางแจ้งกับเครื่องเล่นสนาม
»การจัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก0-1ปี เด็กวัยนี้จะเรียนรู้จากการกระตุ้นประสาทสัมผัสให้เกิดการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเรารอบตัว
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก1-2ปี เด็กวัยนี้จะเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัส มีการกระทำซ้ำๆแบบลองผิดลองถูกกับส่วนต่างๆของร่างกาย กิจกรรมที่ควรจัดให้ควรเป็นกิจกรรมที่ใช้ประสาทสัมผัสและกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆ
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก2-4ปี เด็กวัยนี้เรียนรู้จากการสังเกต เลียนแบบและซักถามทำความรู้จักกับสิ่งต่างๆรอบตัวจากผู้ใหญ่
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก4-6ปี เด็กวัยนี้จะเรียนรู้จากการใช้ภาษาสื่อความหมายเพื่อทำให้บุคคลอื่นเข้าใจ
»ประโยชน์ของการจัดกิจกรรม
»ลักษณะพฤติกรรมการเล่นของเด็กปฐมวัย
●การเล่นของเด็กอายุ0-1ปี ยังไม่ค่อยสนใจการเล่นมากนัก แต่จะเริ่มมีพัฒนาการด้านการมองเห็นและการได้ยิน การแขวนโมบายของเล่นเป็นการช่วยพัฒนาการการมองเป็นและการฟังได้สังเกตการเคลื่อนไหวของโมบาย
●การเล่นของเด็กอายุ1-2ปี เด็กวัยนี้จะเริ่มเดินได้บ้าง แม้จะไม่มั่นคงแต่ก็ชอบเกาะขอบโต๊ะขอบเก้าอี้เดินจากอีกที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เป็นการฝึกเรื่องระยะทางและฝึกการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อต่างๆ
●การเล่นของเด็กอายุ2-4ปี เป็นช่วงวัยที่สำคัญมากเพราะเด็กวัยนี้กำลังอยากรู้อยากเห็นทุกสิ่งทุกอย่าง เคลื่อนไหวร่างกานได้คล่องแคล่วขึ้น ทรงตัวได้ดีมากขึ้น ขาของเด็กวัยนี้จะแข็งแรงมากทำให้เด็กชอบเล่นในสิ่งที่ต้องออกแรงเยอะๆ
●การเล่นของเด็กอายุ4-6ปี เด็กวัยนี้มีความพร้อมในด้านต่างๆมากขึ้น เคลื่อนไหวร่างกานคล่องแคล่วขึ้นชอบการเล่นกลางแจ้งกับเครื่องเล่นสนาม
»การจัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก0-1ปี เด็กวัยนี้จะเรียนรู้จากการกระตุ้นประสาทสัมผัสให้เกิดการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเรารอบตัว
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก1-2ปี เด็กวัยนี้จะเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัส มีการกระทำซ้ำๆแบบลองผิดลองถูกกับส่วนต่างๆของร่างกาย กิจกรรมที่ควรจัดให้ควรเป็นกิจกรรมที่ใช้ประสาทสัมผัสและกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆ
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก2-4ปี เด็กวัยนี้เรียนรู้จากการสังเกต เลียนแบบและซักถามทำความรู้จักกับสิ่งต่างๆรอบตัวจากผู้ใหญ่
☂กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก4-6ปี เด็กวัยนี้จะเรียนรู้จากการใช้ภาษาสื่อความหมายเพื่อทำให้บุคคลอื่นเข้าใจ
»ประโยชน์ของการจัดกิจกรรม
เด็กปฐมวัยเป็นที่ต้องการออกมาสัมผัสกับโลกภายนอกมากขึ้น เริ่มมีสังคมกับคนรอบข้าง เด็กจะ เรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวด้วยความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็นและมีจินตนาการเป็นของตนเอง ชอบเลียนแบบแต่ก็ต้องการคความเป็นอิสระและต้องการทำกิจกรรมต่างๆด้วยตนเอง กิจกรรมของเด็กปฐมวัยจึงมีความสำคัญมาก
สรุป
☼การเลือกสื่อให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยควรเน้นพัฒนาการทั้ง4ด้าน
☼ส่วนการทำกิจกรรมต่างๆควรปล่อยให้เด็กเป็นตัวของตัวเองและกระตุ้นให้เด็กแสดงความสามารถออกมาให้มากที่สุดและควรให้ความสนใจในกิจกรรมของเขา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น